คราวนี้ขอต่อกันด้วยเซนเซอร์แปลกๆบ้าง อย่าง Humidity Sensor ซึ่งอาจจะดูไม่แปลกสำหรับผู้ที่หลงเข้ามาอ่านบางคน แต่มันจะดูแปลเมื่อมาอยู่บนอุปกรณ์แอนดรอยด์นี่ล่ะ เพราะว่าเครื่องส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมี Sensor ตัวนี้ซักเท่าไร
สำหรับ Humidity Sensor แปลตรงตัวเลยง่ายๆ ก็คือวัดความชื้นที่เอาไว้วัดความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ โดยมีหน่วยเป็น %RH หรือ %
สำหรับการทำงานของคำสั่งหลักๆเจ้าของบล็อกจะไม่อธิบายนะ ให้ผู้ที่หลงเข้ามาอ่านเข้าไปอ่านจากบทความ [Android Code] การใช้งาน Accelerometer เพราะว่าการเรียกใช้งานนั้นเหมือนกันเป๊ะๆ ต่างกันแค่ว่าค่าที่ได้นั่นเอง
ในการใช้งานก็จะเปลี่ยนคำสั่งจากเดิมที่เป็น Accelerometer ให้กลายเป็น Humidity Sensor ด้วยนะ อย่าลืมซะล่ะ
สำหรับการทำงานของคำสั่งหลักๆเจ้าของบล็อกจะไม่อธิบายนะ ให้ผู้ที่หลงเข้ามาอ่านเข้าไปอ่านจากบทความ [Android Code] การใช้งาน Accelerometer เพราะว่าการเรียกใช้งานนั้นเหมือนกันเป๊ะๆ ต่างกันแค่ว่าค่าที่ได้นั่นเอง
ในการใช้งานก็จะเปลี่ยนคำสั่งจากเดิมที่เป็น Accelerometer ให้กลายเป็น Humidity Sensor ด้วยนะ อย่าลืมซะล่ะ
SensorManager sensorManager =
(SensorManager) getSystemService(Context.SENSOR_SERVICE);
Sensor sensor =
sensorManager.getDefaultSensor(Sensor.TYPE_RELATIVE_HUMIDITY);
ส่วนคำสั่งอื่นๆ ทั้งหมดก็จะเหมือนกับ Accelerometer เลย ยกเว้นค่าที่ได้ เพราะว่า Accelerometer จะได้ออกมาเป็น Float Array จำนวน 3 ตัวด้วยกันคือ XYZ แต่สำหรับ Humidity Sensor จะได้ออกมาแค่ 1 ตัว ซึ่งมีหน่วยเป็น %RH
ทีนี้ก็มาดูตัวอย่างในบทความนี้ต่อเลยดีกว่าละกัน
Main.java
เจ้าของบล็อกไม่อธิบายใน Main.java แล้วนะ เพราะเคยอธิบายไปแล้ว ให้อ่านบทความ [Android Code] การใช้งาน Accelerometer แทนนะ
main.xml
AndroidManifest.xml
สำหรับ Humidity Sensor นั้นเป็น Sensor เฉพาะทางจริงๆ ซึ่งไม่ได้ถูกเรียกใช้บ่อยมากนัก เปรียบเสมือนลูกเล่นเสริมซะมากกว่า โดยใช้ร่วมกับ Temperature Sensor เพื่อให้วัดได้ทั้งความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิ สำหรับไฟล์ตัวอย่างสามารถดาวน์โหลดได้จาก
Main.java
package app.akexorcist.sensor_humidity;
import android.hardware.Sensor;
import android.hardware.SensorEvent;
import android.hardware.SensorEventListener;
import android.hardware.SensorManager;
import android.os.Bundle;
import android.app.Activity;
import android.content.Context;
import android.widget.TextView;
public class Main extends Activity {
TextView textHumidity;
SensorManager sensorManager;
Sensor sensor;
public void onCreate(Bundle savedInstanceState) {
super.onCreate(savedInstanceState);
setContentView(R.layout.main);
sensorManager = (SensorManager) getSystemService(Context.SENSOR_SERVICE);
sensor = sensorManager.getDefaultSensor(Sensor.TYPE_RELATIVE_HUMIDITY);
textHumidity = (TextView) findViewById(R.id.textHumidity);
}
public void onResume() {
super.onResume();
sensorManager.registerListener(humidListener, sensor,
SensorManager.SENSOR_DELAY_NORMAL);
}
public void onStop() {
super.onStop();
sensorManager.unregisterListener(humidListener);
}
public SensorEventListener humidListener = new SensorEventListener() {
public void onAccuracyChanged(Sensor sensor, int acc) { }
public void onSensorChanged(SensorEvent event) {
float pressure = event.values[0];
textHumidity.setText("Humidity is: " + pressure + " %");
}
};
}
เจ้าของบล็อกไม่อธิบายใน Main.java แล้วนะ เพราะเคยอธิบายไปแล้ว ให้อ่านบทความ [Android Code] การใช้งาน Accelerometer แทนนะ
main.xml
<?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
<LinearLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
android:orientation="vertical"
android:layout_width="match_parent"
android:layout_height="match_parent"
android:gravity="center" >
<TextView
android:id="@+id/textLight"
android:layout_width="wrap_content"
android:layout_height="wrap_content"
android:textSize="30sp"
android:text="" />
</LinearLayout>
AndroidManifest.xml
<?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
<manifest xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
package="app.akexorcist.sensor_humidity"
android:versionCode="1"
android:versionName="1.0" >
<uses-sdk
android:minSdkVersion="14"
android:targetSdkVersion="14" />
<application
android:allowBackup="true"
android:icon="@drawable/ic_launcher"
android:label="@string/app_name"
android:theme="@style/AppTheme" >
<activity
android:name="app.akexorcist.sensor_humidity.Main"
android:label="@string/app_name" >
<intent-filter>
<action android:name="android.intent.action.MAIN" />
<category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
</intent-filter>
</activity>
</application>
</manifest>
สำหรับ Humidity Sensor นั้นเป็น Sensor เฉพาะทางจริงๆ ซึ่งไม่ได้ถูกเรียกใช้บ่อยมากนัก เปรียบเสมือนลูกเล่นเสริมซะมากกว่า โดยใช้ร่วมกับ Temperature Sensor เพื่อให้วัดได้ทั้งความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิ สำหรับไฟล์ตัวอย่างสามารถดาวน์โหลดได้จาก